High quality insectary

ห้องเลี้ยงยุงคุณภาพสูง


ด้วยมาตรฐานในการผลิตยุงคุณภาพสูง ทำให้เราพร้อมเสมอในการทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีน งานด้านระบาดวิทยา และการผลิตสปอโรซอยต์จำนวนมากเพื่อรองรับงานวิจัยด้านยาต้านมาลาเรีย

insectary 1
Capability infected mosq

การผลิตยุง

MVRU เรามีความสามารถในการผลิตยุง An. dirus และ An. Minimus ได้สูงถึง 4 หมื่นตัวต่อสัปดาห์ ซึ่งยุงที่เราผลิตเป็นยุงที่มีสมรรถภาพในการดูดเลือดและการติดเชื้อดี มีอัตราการตายต่ำหลังได้รับเชื้อมาลาเรีย และทางเรามีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีมาตราฐานเพื่อให้พร้อมต่อการทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนตลอดเวลา รวมถึงการศึกษาการแพร่ระบาด การผลิตสปอโรซอยต์จำนวนมากเพื่องานวิจัยทางด้านยา

Infecting mosquito TH

ในแต่ละปี MVRU สามารถผลิตยุงติดเชื้อได้มากกว่า 1 แสนตัว และผลิตสปอโรซอยต์มากกว่า 10 พันล้านตัว เราส่งออกยุงไปยังห้องปฏิบัติการชั้นนำทั่วโลก และยุงที่ส่งออกมีอัตราการตายต่ำมากเมื่อถึงที่หมายแล้ว

Logistic handling of mosquito TH

เราสามารถส่งออกยุงติดเชื้อทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่องานวิจัยทางด้านวัคซีน อีกทั้งเจ้าหน้าที่ของเรามีความเชี่ยวชาญในการให้ความช่วยเหลือการตั้งห้องเลี้ยงยุง

> 20,000

female An. dirus and An. minimus mosquitos produced per week

Over 70 hours th

is the time our mosquitos travelled. Cargo class with 100% survival rate! th

> 1 Billion th

P. vivax sporozoits per year can be produced in our insectary th

Efficient lab for malaria diagnosis

Thai Efficient lab for malaria diagnosis


Thai Our high-throughput, highly sensitive molecular methods of malaria detection provide reference quality answers to malaria infection. We process thousands of samples each year.

staff 1
staff 2

Variety of assays

We developed and use some of the best molecular assays for malaria detection. Our toolbox includes genus- and species-specific qPCR, qRT-PCR, nested-PCR, and LAMP. Gametocyte detection is also a standard assay. When needed, our expert light microscopists can be called in to examine blood smears.

Dedicated laboratory for diagnosis TH

การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ MVRU มีห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยมาลาเรียแยกตัวออกจากห้องปฏิบัติการอื่นๆ เพื่อป้องการการปนเปื้อน นอกจากนั้นเรายังมีห้องปฏิบัติการเลี้ยงเชื้อและห้องปฏิบัติการ ชีวโมเลกุล

Automated nucleic acid extraction and PCR setting

MVRU ได้ร่วมมือกับบริษัท Qiagen เพื่อตั้งศูนย์ความร่วมมือ QIAGEN-เวชศาสตร์เขตร้อน สำหรับเทคนิคทางด้านชีวโมเลกุล ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของ ผศ.ดร.หวัง หงุ่ยตระกูล ทำให้เรามีเครื่องมือที่ทันสมัยและสมรรถภาพสูงในการวิจัยแบบ real-time ทำให้ได้ผลการทดลองถูกต้องรวดเร็วเพื่อตอบโจทย์วิจัยและความต้องการทางด้านนวัตกรรม

150-200

manual dissection of mosquito salivary gland per hour per person. th

> 200 years th

Of accumulated P.Vivax research experience in our team th

36 months th

Of P. vivax in-vitro culture - longest th

home cap 3

Thai Access to Malaria endemic areas


THAI Our field laboratories are situated in the midst of Thailand’s endemic areas. They offer unique opportunities to experiment with all human malaria including P. vivax and others parasites (P. falciparum, P. ovale, P. malariae, P. knowlesi).

access 1
access 2

Field research TH

การเข้าถึงพื้นที่ระบาดมาลาเรีย

เราเชื่อมั่นมาตลอดว่าการทำงานในภาคสนามเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้เราเข้าใจถึงกระบวนการการระบาดและการแพร่เชื้อของไข้มาลาเรีย เราทำงานใกล้ชิดกับประชากรกลุ่มที่สัมผัสเชื้อในพื้นที่ระบาดโดยตรง โดยตลอด 30 ปีที่ผ่านมา คณะผู้วิจัยทำงานในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ทั้งการสำรวจแบบตัดขวาง (cross sectional surveys), การศึกษาแบบกลุ่ม (cohort studies) การศึกษาทางอ้อม (passive case detection), การติดตามต่อเนื่อง (active follow ups) รวมถึงการจับยุงในพื้นที่โดยเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญและที่ดักยุง

Field laboratories TH

ห้องปฏิบัติการภาคสนาม ห้องปฏิบัติการภาคสนามของ MVRU มีความสามารถในการเลี้ยงเชื้อระยะสั้น การเตรียมตัวอย่างให้พร้อมก่อนส่งมายังหน่วย MVRU ที่กรุงเทพมหานคร การทดลองในยุงติดเชื้อ และยังเป็นสถานที่ให้นักศึกษาของเราเรียนรู้งานภาคสนามด้วยการทดลองปฏิบัติงานจริงและกิจกรรมสัญจรของคณะผู้วิจัย

Access to malaria-infected blood th

เนื่องจากเชื้อพลาสโมเดียมไวแวกซ์ไม่สามารถเลี้ยงได้ในหลอดทดลอง เราจึงทำงานร่วมมือกับมาลาเรียคลินิกและโรงพยาบาลในพื้นที่เพื่อให้เราสามารถเข้าถึงผู้ป่วยมาลาเรียในทุกพื้นที่ของประเทศ นอกจากนี้เรายังสามารถเข้าถึงพื้นที่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า ชายแดนไทย-กัมพูชา และเขตพื้นที่ชายแดนทางภาคใต้เพื่อเก็บเชื้อจากประสบการณ์ทางด้านเทคนิคและระบบจัดการขนส่งยุงทำให้เราประสบความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงเชื้อในระยะที่อยู่ในเลือด